วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล

ประกอบด้วย ๖ ขั้นตอน ดังนี้ 

๑. แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ตามบักทึกข้อตกลงในประเด็นท้าทายของครูสู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active learning  เพื่อพัฒนาสมมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

-  คณะกรรมการประกอบไปด้วย

๑) ผู้อำนวยการสถานศึกษา

๒) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา

๓) หัวหน้ากลุ่มสาระ / กลุ่มงาน

๔) ผู้ทรงคุณวุฒิ

๕) ครู

๒. กำหนดแผนงานการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ตามบักทึกข้อตกลงในประเด็นท้าทายของครู  นำสู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active learning  เพื่อพัฒนาสมมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

- การจัดทำแผนงานการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ตามบักทึกข้อตกลงในประเด็นท้าทาย

ของครู  สู่การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญแบบ Active  learning  ประกอบด้วย

- สร้างทีมงาน PLC ในสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา

- สร้างความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการปฏิบัติให้กับบุคลากรในสถานศึกษา (พาดู พาคิด

พาทา)

- สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานอื่น (ระดับบุคคล ระดับองค์การ ระดับหน่วยงาน)

- กำกับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผล

ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

การขับเคลื่อนกระบวนการ PLCตามบักทึกข้อตกลงในประเด็นท้าทายของครู  นำสู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active learning  เพื่อพัฒนาสมมรรถนะสำคัญของผู้เรียน


๓. ให้เกิดการปฏิบัติในสถานศึกษา

๑) การรวมกลุ่ม PLC รวมกลุ่มครูที่มีปัญหา/ความต้องการ เดียวกัน เช่น ครูกลุ่มสาระเดียวกัน ครูที่สอนในระดับชั้นเดียวกัน เป็นต้น

๒) ค้นหาปัญหา ความต้องการ

- ร่วมกันเสนอปัญหา/ความต้องการ

- จัดกลุ่มปัญหา

- จัดลำดับความจำเป็นเร่งด่วน

- เลือกปัญหาเพียง ๑ ปัญหา โดยการพิจารณาร่วมกัน

  ๓) ร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหา

-  เรื่องเล่าเร้าพลัง/บอกเล่าประสบการณ์ที่แก้ปัญหาได้สำเร็จ

-  ค้นหาตัวอย่าง/รูปแบบที่ประสบความสำเร็จ

-  ร่วมกันตัดสินใจเลือกรูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมในการแก้ปัญหา

๔)   ออกแบบกิจกรรมการแก้ปัญหา ออกแบบกิจกรรมตามวิธีการ/นวัตกรรมที่กลุ่มเลือก

๕) แลกเปลี่ยนเสนอแนะ นาเสนอกิจกรรมการแก้ปัญหาให้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ที่มีประสบการณ์ให้ข้อเสนอแนะ

๖) นำสู่การปฏิบัติ /สังเกตการสอน

- นำกิจกรรมไปใช้ในการแก้ปัญหา

- ผู้สังเกตการณ์เข้าร่วมสังเกตในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เช่น การ

เยี่ยมชั้นเรียน สังเกตการสอน เป็นต้น

๗) สะท้อนผล

- สรุปผลการนารูปแบบ/วิธีการ ในการนาไปแก้ปัญหา

- อภิปรายผลการแก้ปัญหา เสนอแนะแนวทางในการพัฒนา



๔. กำกับ ติดตามนิเทศและประเมินผล

๑)    จัดทำแผนและเครื่องมือ กำกับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC

ตามบักทึกข้อตกลงในประเด็นท้าทายของครู  นำสู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active learning  เพื่อพัฒนาสมมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

๒) คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการPLC ตามบักทึกข้อตกลงในประเด็นท้าทายของครู  นำสู่

การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active learning  เพื่อพัฒนาสมมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ดำเนินการกำกับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ตามบักทึกข้อตกลงในประเด็นท้าทายของครู  สู่การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  

๓) เร่งรัด ติดตาม และสนับสนุน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ไม่ประ

สบความสำเร็จในการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ตามบักทึกข้อตกลงในประเด็นท้าทายของครู  สู่การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ แบบ Active  learning 


๕. สรุปรายงานผลการดาเนินการการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ตามบักทึกข้อตกลงในประเด็นท้าทายของครู  สู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active  Learning

๑) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รายงานผลการดาเนินการตามกระบวนการ PLC ตาม

บักทึกข้อตกลงในประเด็นท้าทายของครู นำสู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active learning  เพื่อพัฒนาสมมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  เป็นรายบุคคลต่อผู้บริหารสถานศึกษา

            ๒) คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการPLC ตามบักทึกข้อตกลงในประเด็นท้าทายของครู  สู่นำสู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active learning  เพื่อพัฒนาสมมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  สรุปและรายงานผลการ

  ๓) เนินการติดตามการขับเคลื่อนกระบวนการPLC นำสู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active learning  เพื่อพัฒนาสมมรรถนะสำคัญของผู้เรียนในสถานศึกษา

  ๔) สถานศึกษารายงานผลการดาเนินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ตามบักทึกข้อตกลงใน

ประเด็นท้าทายของครู นำสู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active learning  เพื่อพัฒนาสมมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

ต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้อง 


๖.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน และยกย่องเชิดชูเกียรติการขับเคลื่อนกระบวนการPLC ตามบักทึกข้อตกลงในประเด็นท้าทายของครู นำสู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active learning  เพื่อพัฒนาสมมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

๑ ) สถานศึกษาจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show & Share) การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่

สถานศึกษา ที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา

๒) ยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่มีกระบวนการดาเนินการที่ดี

สามารถเป็นแบบอย่างได้ และเผยแพร่ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย